Neric-Club.Com
  ทรัพยากรคลับ
  พิพิธภัณฑ์หุ่นกระดาษ
  เปิดประตูสู่อาเซียน@
  พันธกิจขยายผล
  ชุมชนคนสร้างสื่อ
  คลีนิคสุขภาพ
  บริหารจิต
  ห้องข่าว
  ตลาดวิชา
   นิตยสารออนไลน์
  วรรณกรรมเพื่อเยาวชน
  ลมหายใจของใบไม้
  เรื่องสั้นปันเหงา
  อังกฤษท่องเที่ยว
  อนุรักษ์ไทย
  ศิลปวัฒนธรรมไทย
  ต้นไม้ใบหญ้า
  สายลม แสงแดด
  เตือนภัย
  ห้องทดลอง
  วิถีไทยออนไลน์
   มุมเบ็ดเตล็ด
  เพลงหวานวันวาน
  คอมพิวเตอร์
  ความงาม
  รักคนรักโลก
  วิถีพอเพียง
  สัตว์เลี้ยง
  ถนนดนตรี
  ตามใจไปค้นฝัน
  วิถีไทยออนไลน์
"ในยุคสมัยแห่งโลกแฟนตาซี ปลาใหญ่ไม่ทันกินปลาเล็ก ปลาเร็วไม่ทันกินปลาช้า ปลาตะกละฮุบเหยื่อโผงโผง โง่ยังเป็นเหยื่อคนฉลาด อ่อนแอเป็นเหยื่อคนเข้มแข็ง คนวิถึใหม่ต้องฉลาด เข้มแข็ง เสียงดัง มีเงินเป็นอาวุธ
ดูผลโหวด
 
 

'องค์ความรู้ในโลกนี้มีมากมาย
เหมือนใบไม้ในป่าใหญ่
มนุษย์เราเรียนรู้ได้
แค่ใบไม้หนึ่งกำมือของตนเอง
ผู้ใดเผยแผ่ความรู้
อันเป็นวิทยาทานแก่ผู้อื่น
นั่นคือกุศลอันใหญ่ยิ่ง'
 
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า












           




             ซ่อมได้ 


สถิติผู้เยี่ยมชมเวปไซต์
14322815  

ชุมชนคนสร้างสื่อ

ประวัติบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI

  • ปี ค.ศ. 1958 มหาวิทยาลัยฟอริดาได้นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสอน และทบทวนบทเรียนทางด้านวิชาฟิสิกส์และสถิต์ ในปีเดียวกัน มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดได้นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในสอนระดับมัธยมศึกษา ในวิชาภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์พื้นฐาน
  • ปี ค.ศ. 1960 มหาวิทยาลัยอิลลินอยล์จัดทำ CAI แบบเทอร์มินัล (Terminal) ที่สามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ชื่อว่า "PLATO "
  • ปี ค.ศ. 1963 มีการสัมมนาให้บุคคลทั่วไปได้รับรู้เกี่ยวกับบทเรียน CAI และขยายวงกว้างขึ้น
  • ปี ค.ศ. 1971 มหาวิทยาลัยบริกคัมยังและเทกซัสได้พัฒนาบทเรียน CAI ใช้กับมินิคอมพิวเตอร์(Mini computer) ใช้โปรแกรมชื่อ TICCIT: Time Shared Interactive Controlled Information Television ต่อมาญี่ปุ่นได้พัฒนาบทเรียน CAI จนสามารถใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์และได้มีการเผยแพร่ทั่วไปใช้เป็นบทเรียนช่วยสอน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาบทเรียน CAI เพื่อใช้ในการเรียนการสอนในหลายสาขาวิชา ในระดับต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก
  • สำหรับประเทศไทยได้นำแนวคิดในการนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเข้ามาใช้ในโรงเรียน ได้เริ่มตั้งแต่ช่วงปีพ.ศ. 2525 - 2530 แต่การใช้งานยังไม่ต่อเนื่องกัน เพราะมีปัญหาทางด้านต่าง ๆ เช่น ปัญหาด้านความพร้อมของบุคลากร งบประมาณและการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  • สภาพปัจจุบัน เทคโนโลยีซึ่งได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์(Hardware) และโปรแกรมคอมพิวเตอร์(Software)ในด้านต่าง ๆ หลาย ๆ รูปแบบ ซึ่งถูกพัฒนาอย่างรวดเร็ว โปรแกรมช่วยสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพมากขึ้นด้วย ในรูปแบบของการสร้างบทเรียนสามารถใช้สื่อหลายรูปแบบหรือมัลติมีเดียเข้าด้วยกัน รวมทั้งการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ ที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้น เช่น การทำงานร่วมกันในระบบเครือข่าย การให้คำแนะนำระหว่างกันหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการเรียนการสอนแบบเชื่อมตรง (on-line) การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูลหรือเนื้อหาวิชาการจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) ซึ่งมีการเชื่อมโยงกันทั่วโลก


หน้าที่ :: 11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21  


Copyright © 2012 Neric-Club.Com All Rights Reserved