Neric-Club.Com
  สารบัญเว็บไซต์
  ทรัพยากรคลับ
  พิพิธภัณฑ์หุ่นกระดาษ
  เปิดประตูสู่อาเซียน@
  พันธกิจขยายผล
  ชุมชนคนสร้างสื่อ
  คลีนิคสุขภาพ
  บริหารจิต
  ห้องข่าว
  ตลาดวิชา
   นิตยสารออนไลน์
  วรรณกรรมเพื่อเยาวชน
  ลมหายใจของใบไม้
  เรื่องสั้นปันเหงา
  อังกฤษท่องเที่ยว
  อนุรักษ์ไทย
  ศิลปวัฒนธรรมไทย
  ต้นไม้ใบหญ้า
  สายลม แสงแดด
  เตือนภัย
  ห้องทดลอง
  วิถีไทยออนไลน์
   มุมเบ็ดเตล็ด
  เพลงหวานวันวาน
  คอมพิวเตอร์
  ความงาม
  รักคนรักโลก
  วิถีพอเพียง
  สัตว์เลี้ยง
  ถนนดนตรี
  ตามใจไปค้นฝัน
  วิถีไทยออนไลน์
"ในยุคสมัยแห่งโลกแฟนตาซี ปลาใหญ่ไม่ทันกินปลาเล็ก ปลาเร็วไม่ทันกินปลาช้า ปลาตะกละฮุบเหยื่อโผงโผง โง่ยังเป็นเหยื่อคนฉลาด อ่อนแอเป็นเหยื่อคนเข้มแข็ง คนวิถึใหม่ต้องฉลาด เข้มแข็ง เสียงดัง มีเงินเป็นอาวุธ
ดูผลโหวด
 
 

'องค์ความรู้ในโลกนี้มีมากมาย
เหมือนใบไม้ในป่าใหญ่
มนุษย์เราเรียนรู้ได้
แค่ใบไม้หนึ่งกำมือของตนเอง
ผู้ใดเผยแผ่ความรู้
อันเป็นวิทยาทานแก่ผู้อื่น
นั่นคือกุศลอันใหญ่ยิ่ง'
 
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า












           




             ซ่อมได้ 


สถิติผู้เยี่ยมชมเวปไซต์
14021377  

ชุมชนคนสร้างสื่อ

คราวที่แล้วเราได้สร้างฟอร์มขึ้นมาแล้ว ยังมีอีกปุ่มหนึ่งที่เรายังไม่ได้สร้างเลยก็คือ ปุ่ม Clear สำหรับลบข้อมูลที่กรอกไปแล้วในบทความนี้จะบอกถึงเทคนิคการสร้างปุ่ม Clear ซึ่ง Flash ไม่ได้มีมาให้

1. เริ่มต้นจากการสร้าง Layer3 ขึ้นมาก่อน แล้ว สร้างรูปสี่เหลี่ยมขึ้นมาเพื่อสร้างปุ่ม โดยใช้เครื่องมือ Rectangle ถ้าจะให้ดีก็ควรจะมีขนาดเท่ากับปุ่ม Submit อย่าลืมเพื่มข้อความลงในปุ่ม Clear ด้วยเครื่องมือ Text tool ด้วยนะครับเสร็จแล้วก็ให้คลิ๊กที่ Layer3 จะมีเส้นประล้อมรอบรูปสี่เหลี่ยม แล้วก็กด F8 เพื่อสร้าง Symbol ขึ้นมา ในช่อง Name ให้ใส่ชื่อเป็น clear ในช่อง Behavior ให้กำหนดคุณสมบัติเป็น button แล้วกด Ok

สร้างปุ่มสำหรับ Clear ขึ้นมา

สร้างตัวอักษรลงบนปุ่ม

ใช้เครื่องมือ Arrow เลือกวัตถุ

เลือกคำสั่ง Set Variable

ทำให้เป็น Symbol แบบ Button

2. เมื่อเราได้ปุ่มมาแล้ว ให้ดับเบิ้ลคลิ๊กที่ปุ่มที่เราเพิ่งสร้างเสร็จ จะมีหน้าต่าง Instance Properties ขึ้นมา ให้เลือกแท็บ Action เพื่อกำหนดการทำงานให้กับปุ่มนี้ คลิ๊กที่เครื่องหมายบวก เลือก Set Variable


ใส่ชื่อตัวแปรลงไปอย่างเดียว
3. ในช่อง Action จะมีสคริปใส่มาให้เรา 3 บรรทัดเหมือนเดิมในบรรทัดที่สองจะเป็นตัวกำหนดตัวแปรทีจะใช้ เมื่อคลิ๊กที่บรรทัดที่สองแล้ว ในช่อง Variable ให้ใส่ชื่อตัวแปรลงไป ให้ใส่เป็น name เนื่องจากว่ากล่องข้อความที่รับข้อมูลนั้น มีชื่อเป็น name และในช่อง value ก็ให้ปล่อยว่างเอาไว้ (ชื่อตัวแปรต้องเป็นชื่อเดียวกันกับชื่อของกล่องข้อความ)


สรุปการทำงานของสคริปตัวนี้ได้ดังนี้
-เมื่อมีการคลิ๊กที่ปุ่มนี้ ให้กำหนดค่าตัวแปร name ให้เท่ากับช่องว่าง ซึ่งหมายความว่าเมื่อตัวแปร name มีค่าเท่ากับช่องว่างแล้วจะทำให้ข้อความในกล่องข้อความใน Layer2 นั้นหายไป(เพราะกล่องข้อความที่ชื่อ name ใช้ตัวแปร name เก็บข้อมูลเอาไว้)-


หลังจากอ่านบทความนี้แล้วก็ให้ดาว์นโหลดตัวอย่างไปลองทำเลยครับ อ่านซักร้อยเที่ยวก็ยังไม่เข้าใจเท่ากับทำสิบครั้งหรอกครับ ใน Flash นี้จะส่วนใหญ่จะใช้ตัวแปรเป็นตัวช่วยในการทำงาน ดังนั้นถ้าผู้อ่านท่านใดไม่เข้าใจเรื่องตัวแปร ก็ให้ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆครับ ไม่ต้องรีบร้อน มีปัญหา Mail มาได้ที่ am@thaimisc.com ครับ


หน้าที่ :: 51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61  


Copyright © 2012 Neric-Club.Com All Rights Reserved