Neric-Club.Com
  สารบัญเว็บไซต์
  ทรัพยากรคลับ
  พิพิธภัณฑ์หุ่นกระดาษ
  เปิดประตูสู่อาเซียน@
  พันธกิจขยายผล
  ชุมชนคนสร้างสื่อ
  คลีนิคสุขภาพ
  บริหารจิต
  ห้องข่าว
  ตลาดวิชา
   นิตยสารออนไลน์
  วรรณกรรมเพื่อเยาวชน
  ลมหายใจของใบไม้
  เรื่องสั้นปันเหงา
  อังกฤษท่องเที่ยว
  อนุรักษ์ไทย
  ศิลปวัฒนธรรมไทย
  ต้นไม้ใบหญ้า
  สายลม แสงแดด
  เตือนภัย
  ห้องทดลอง
  วิถีไทยออนไลน์
   มุมเบ็ดเตล็ด
  เพลงหวานวันวาน
  คอมพิวเตอร์
  ความงาม
  รักคนรักโลก
  วิถีพอเพียง
  สัตว์เลี้ยง
  ถนนดนตรี
  ตามใจไปค้นฝัน
  วิถีไทยออนไลน์
"ในยุคสมัยแห่งโลกแฟนตาซี ปลาใหญ่ไม่ทันกินปลาเล็ก ปลาเร็วไม่ทันกินปลาช้า ปลาตะกละฮุบเหยื่อโผงโผง โง่ยังเป็นเหยื่อคนฉลาด อ่อนแอเป็นเหยื่อคนเข้มแข็ง คนวิถึใหม่ต้องฉลาด เข้มแข็ง เสียงดัง มีเงินเป็นอาวุธ
ดูผลโหวด
 
 

'องค์ความรู้ในโลกนี้มีมากมาย
เหมือนใบไม้ในป่าใหญ่
มนุษย์เราเรียนรู้ได้
แค่ใบไม้หนึ่งกำมือของตนเอง
ผู้ใดเผยแผ่ความรู้
อันเป็นวิทยาทานแก่ผู้อื่น
นั่นคือกุศลอันใหญ่ยิ่ง'
 
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า












           




             ซ่อมได้ 


สถิติผู้เยี่ยมชมเวปไซต์
14037624  

คลีนิคสุขภาพ

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับไวรัสตับอักเสบบี

น.อ . ณัฎฐากร วิริ ยานุภาพ
กอง อายุ รกรรม ร.พ .ภูมิ พล อดุลยเดช พอ.บนอ.

ปัจจุบัน มี ผู้ ป่วย ที่ เป็น โรค ตับ อักเสบ จาก ไวรัส ชนิดบีใน เมือง ไทย จำนวน มาก โดย ที่ ผู้ ป่วย เหล่า นี้ อาจ ไม่ แสดง อาการ ใด ๆ ผู้ ป่วย เหล่า นี้ บาง คน อาจ จะ ยัง ไม่ เคย ทราบ มา ก่อน ว่า ตัว เอง เป็น โรค นี้ จน กระทั่ง ไป ตรวจ เลือด จึง พบ ว่า เป็น โรค นี้ ก็ มี หรือ บาง คน ไป บริจาค โลหิต แล้ว จึง ทราบ ว่า เป็น โรค นี้ ผู้ ป่วย ที่ เป็น โรค นี้ จำนวน หนึ่ง จะ กลาย เป็น โรค ร้าย แรง ซึ่ง จะ ได้ กล่าว ต่อ ไป

โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิด ติด ต่อ กัน ได้ อย่าง ไร

ผู้ ป่วย ที่ เป็น โรค นี้ ส่วน มาก ไม่ ทราบ ว่า ติด โรค นี้ มา ได้ อย่าง ไร การ ติด ต่อ ของ โรค นี้ ติด ต่อ กัน ได้ ที่ สำคัญ มี 4 ทาง คือ
1. ติด ต่อ ทางเลือด โดย ได้ รับ เชื้อ จาก การ ได้ รับ เลือด จาก ผู้ ที่ เป็น โรค นี้ ปัจจุบัน เรา พบ การ ติด ต่อ ทางนี้ น้อย ลง เพราะ เรา มี การ ตรวจ เลือด ก่อน ที่ จะ นำ มา ให้ คน ไข้
2. ติด ต่อ ทางน้ำ ลาย การ รับ ประทาน อาหาร ร่วมกับคน ที่ มี เชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบี มี โอกาส จะ ติด ต่อ กัน ได้ ง่าย เพราะ การ รับ ประทาน อาหาร ของ คน ไทย มัก จะ ลืม ใช้ ช้อน กลาง ทำ ให้ มี โอกาส ติด โรค นี้ ได้ ง่า
3. ติด ต่อ ทางเพศ สัมพันธ์ ผู้ ที่ มี เพศ สัมพันธ์กับคน ที่ เป็น โรค นี้ มี โอกาส จะ ติด โรค นี้ ได้
4. ติด ต่อ จาก มารดา สู่ บุตร การ ติด ต่อ นี้ จะ มี โอกาส สูง ที่ จะ ติด เชื้อ ได้ ใน ระหว่าง คลอด จึง ควร มี การ ตรวจ เลือด มารดา ใน ตอน ที่ ฝาก ครรภ์ ถ้า พบ ว่า มารดา มี เชื้อ โรค นี้ อยู่ ควร ให้ วัคซีน แต่ ทารก ตั้ง แต่ แรก เกิด เพื่อ ป้อง กัน ไม่ ให้ เป็น โรค นี้

อาการ ของ โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบี เป็น อย่าง ไร

อาการ ของ โรค นี้ แบ่ง ได้ เป็น 3 ลักษณะ คือ
1. มี อาการ น้อย จน ผู้ ที่ ได้ รับ เชื้อ เข้า ไป แทบ จะ ไม่ ทราบ ว่า ตัว เอง เป็น โรค นี้ ผู้ ป่วย กลุ่ม นี้ ส่วน ใหญ่ มา ทราบ ที หลัง โดย การ เจาะ เลือด หรือ ไป บริจาค โลหิต จึง ทำ ให้ ทราบ ว่า เป็น โรค นี้
2. มี อาการ ชัด เจน ได้ แก่ มี ไข้ ต่ำ ๆ อ่อน เพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่อ อาหาร นำ มา ก่อน ต่อ มา มี อาการ ตา เหลือง ตัว เหลือง ปัสสาวะ เหลือง เข้ม เมื่อ มี อาการ ตา เหลือง ตัว เหลือง เกิด ขึ้น แล้ว อาการ อ่อน เพลีย เบื่อ อาหาร ก็ มัก จะ ดี ขึ้น หรือ หาย ไป ผู้ ป่วย จะ มี ระยะ เวลา ที่ ตา เหลือง ตัว เหลือง ไม่ เท่า กัน บาง คน อาจ เป็น เพียง ไม่ กี่ อาทิตย์ แต่ บาง คน อาจ นาน 2-3 เดือน
3. ผู้ ป่วย บาง ราย มี อาการ รุน แรง มาก จน มี อาการ ซึม ตา เหลือง ตัว เหลือง ไม่ รู้ สึก ตัว ตับ มี ขนาด เล็ก ลง ผู้ ป่วย เหล่า นี้ จะ มี โอกาส สูง ที่ จะ เกิด ภาวะ ตับ วาย และ เสีย ชีวิต ใน ที่ สุด แต่ โชค ดี มี ผู้ ป่วย จำนวน น้อย มาก ที่ จะ เป็น แบบ นี้ ผู้ ป่วย ที่ มี อาการ รุน แรง ใน ปัจจุบัน ยัง ไม่ มี วิธี การ รักษา ใด ๆ ได้ ผล ดี ที่ สุด วิธี ที่ ได้ ผล ดี ใน ขณะ นี้ ก็ คือ การ เปลี่ยน ตับ ซึ่ง ก็ มี ปัญหา หลาย ๆ อย่าง ดัง นี้
3.1 มี ผู้ บริจาค ตับ จำนวน น้อย ทำ ให้ ไม่ เพียง พอ ที่ จะ นำ มา ให้กับผู้ ป่วย ส่วน ใหญ่ ตับ ที่ จะ นำ มา ให้กับผู้ ป่วย โรค นี้ มัก จะ ได้ มา จาก ผู้ ป่วย ที่ ประสบ อุบัติ เหตุ เสีย ชีวิต แต่ ตับ ยัง ดี อยู่ ซึ่ง ต้อง ได้ รับ อนุญาต จากญาตผู้ ป่วย ด้วย
3.2 เนื้อ เยื่อ ของ ตับ ที่ จะ นำ มา ให้กับผู้ ป่วย ต้อง เข้า กัน ได้กับเนื้อ เยื่อ ของ ผู้ ป่วย ด้วย
3.3 ผู้ ป่วย ที่ มี ภาวะ ตับ วาย มัก จะ มี โรค แทรก ซ้อน หลาย อย่าง เช่น สมอง บวม , ปอด บวม , เลือด ออก ใน ระบบ ทางเดิน อาหาร เป็น ต้น ทำ ให้ ไม่ สามารถ จะ เปลี่ยน ตับ ให้ แก่ ผู้ ป่วย ได้
3.4 ผู้ ป่วย ที่ ได้ รับ การ เปลี่ยน ตับ จำ เป็น ต้อง ได้ รับ การ รับ ประทาน ยา กด ภูมิ ต้าน ทาน เพื่องป้อง กัน ไม่ ให้ ร่าง กาย นั้น มี ปฏิกิริยากับตับ ที่ นำ มา เปลี่ยน ให้ การ ได้ รับ ยา ชนิด นี้ นาน ๆ ทำ ให้ เกิด โรค แทรก ซ้อน เช่น ติด เชื้อ ได้ ง่ายขึ้น

ผู้ ป่วย ที่ มี อาการ ตา เหลือง ตัว เหลือง หรือ ที่ เรียก อีก อย่าง ว่า อาการ ดี ซ่าน ทุก คน ต้อง เป็น โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบี หรือ ไม่

ผู้ ป่วย ที่ มี อาการ ดี ซ่าน คือ ตา เหลือง ตัว เหลือง ไม่ จำ เป็น ต้อง เป็น ไวรัส ตับ อักเสบบี เพราะ สาเหตุ ของ อาการ ดี ซ่าน มี ได้ หลาย อย่าง ได้ แก่
1. จาก การ ทำลาย ของ เม็ด เลือด แดง มาก เกิน ปกติ ทำ ให้ เกิด ภาวะ ดี ซ่าน ขึ้น ได้ เช่น การ ให้ เลือด ผิด หมู่ เลือด หรือดรค G-6, P-D เป็น ต้น
2. จาก ภาวะ ตับ อักเสบ ซึ่ง มี สาเหตุ ได้ หลาย อย่าง เช่น
2.1 จาก ไวรัส เช่น ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิด A, B, C, D และ E
2.2 จาก ยา บาง ชนิด ยา หลาย ตัว ที่ มี พิษ ต่อ ตับ เช่น ยา ปฏิชีวนะ บาง ชนิด เช่น ยา ซัลฟา , ยาเตตราซัยคลิน , ยา อี รี โทร มัย ซิน เป็น ต้น ยา รักษา โรค วัณ โรค หลาย ตัว ก็ มี พิษ ต่อ ตับ นอก จาก นี้ ยัง มี ยา อีก หลาย ชนิด ซึ่ง ทำ ให้ เกิด อาการ ดี ซ่าน ขึ้น ได้ ดัง นั้น ก่อน ที่ จะ รับ ประทาน ยา ชนิด ใด ถ้า ไม่ แน่ ใจ ควร ปรึกษา แพทย์ หรือ เภสัช กร ก่อน เพราะ ยา นั้น อาจ มี พิษ ต่อ ร่าง กาย ได้
2.3 จาก การ ดื่มเครื่องดื่ม ที่ มี แอลกอฮอลล์ ผู้ ที่ ดื่มเครื่องดื่ม ที่ มี แอลกอฮอลล์ทุก ชนิด เช่น เบียร์ วิสกี้ เหล่า ไวน์ เป็น ต้น มี โอกาส จะ เกิด ภาวะ ตับ อักเสบ ได้ เพราะ แอลกอฮอลล์นั้น เมื่อ ดื่ม เข้า ไป แล้ว จะ มี พิษ ต่อ ตับ ทำ ให้ เกิด อาการ ดี ซ่าน ขึ้น ได้ ทั้ง นี้ ขึ้นกับปริมาณ และ ระยะ เวลา ที่ ดื่ม ด้วย ถ้า ดื่ม ปริมาณ มาก และ ระยะ เวลา นาน ก็ มี โอกาส จะ เกิด ตับ อักเสบ ได้ มาก ขึ้น
2.4 จาก สาร พิษ บาง ชนิด ใน ปัจจุบัน มี การ ใช้ สมุน ไพร กัน อย่าง แพร่ หลาย ซึ่ง สมุน ไพร บาง ชนิด อาจ มี พิษ ต่อ ตับ ได้ ทำ ให้ เกิด ภาวะ ตับ อักเสบ ดัง นั้น การ ที่ จะ รับ ประทาน สมุน ไพร ไม่ ว่า จะ เป็น ยา ลูก กลอน ยา หม้อ , ยา ดอง เหล้า ฯลฯ จึง ควร ต้อง ระ มัด ระวัง ว่า อาจ มี โอกาส ที่ จะ เกิด อาการ ดี ซ่าน ขึ้น ได้

ผู้ ป่วย ที่ เป็น โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบี เมื่อ เป็น แล้ว จะ เป็น เรื้อ รัง ทุก ราย หรือ ไม่

- ไม่ เป็น ตับ อักเสบ เรื้อ รัง ทุก ราย ผู้ ป่วย ที่ ได้ รับ เชื้อ ไวรัส ตับ อัก เสลชนิดบีเข้า ไป ครั้ง แรก จะ มี อาการ น้อย จน ถึง มี อาการ รุน แรง ดัง ที่ ได้ กล่าว ไป แล้ว แต่ ผู้ ป่วย เหล่า นี้ ประมาณ 10% เท่า นั้น ที่ จะ เป็น ตับ อักเสบ เรื้อ รัง หรือ พาหะ ของ โรค ส่วน ใหญ่ ประมาณ 90% จะ หาย เป็น ปกติ

เรา จะ รู้ ได้ อย่าง ไร ว่า เรา เป็น โรค ไวรัส ตับบีเรื้อ รัง หรือ พาหะ ของ โรค นี้ หรือ เปล่า

- ถ้า เรา ไม่ เคย มี อาการ ใด ๆ มา ก่อน เรา อาจ จะ ไป พบ แพทย์ เพื่อ ขอ เจาะ เลือด ตรวจ ซึ่ง แพทย์ จะ ตรวจ การ ทำ งาน ของ ตับ และ ตรวจ หา เชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบบีด้วย ถ้า ผู้ ป่วย มี เชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบบีและ มี ภาวะ ตับ อักเสบ ด้วย น่า จะ เป็น ตับ อักเสบ เรื้อ รัง แต่ ถ้า จะ ให้ แน่ ใจ แพทย์ จะ นัด ผู้ ป่วย มา เจาะ เลือด อีก 6 เดือน ถ้า ยัง พบ เชื้อ และ ยัง มี ภาวะ ตับ อักเสบ อยู่ ก็ แสดง ว่า ผู้ ป่วย เป็น โรค ตับ เรื้อ รัง จาก ไวรัส ชนิดบี แต่ ถ้า เจาะ เลือด แล้ว มี เชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบบี แต่ ไม่ พบ ภาวะ ตับ อักเสบ ก็ น่า เป็น พาหะ ของ โรค นี้ ถ้า อีก 6 เดือน ต่อ มา เจาะ เลือด แล้ว ยัง พบ เชื้อ เหมือนเดิม แต่ ไม่ พบ ภาวะ ตับ อักเสบ ก็ แสดง ว่า ผู้ ป่วย เป็น พาหนะ ของ ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบี
ผู้ ป่วย ที่ มี อาการ ดี ซ่าน ผู้ ป่วย กลุ่ม นี้ ส่วน ใหญ่ จะ ไป พบ แพทย์ ซึ่ง ก็ จะ ทราบ ว่า เป็น ไวรัส ตับ อักเสบบีหรือ ไม่ จาก การ ตรวจ และ เจาะ เลือด ของ แพทย์

ผู้ ป่วย ที่ เป็น โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบีเรื้อ รัง หรือ พาหะ ของ โรค นี้ มี อันตราย อย่าง ไร

ผู้ ป่วย ทั้ง สอง กลุ่ม นี้ มี โอกาส จะ เกิด โรค ตับ แข็ง หรือ โรค มะเร็ง ของ ตับ หรือ ทั้ง 2 อย่าง ได้ สูง กว่า คน ที่ ไม่ เป็น โรค นี้ โรค ตับ แข็ง และ โรง มะเร็ง ของ ตับ เป็น โรค ที่ ยัง รักษา ไม่ หาย ใน ขณะ นี้ โรค ตับ แข็ง จะ เป็น โรค เรื้อ รัง ผู้ ป่วย จะ มี ภาวะ แทรก ซ้อน จาก การ ติด เชื้อ และ ภาวะ เลือด ออก ใน ทางเดิน อาหาร ได้ บ่อย
ส่วน โรค เนื้อ งอก หรือ มะเร็ง ของ ตับ นั้น เมื่อ เป็น แล้ว ใน ปัจจุบัน ยัง ไม่ มี วิธี รักษา ให้ หาย ขาด ได้ การ รักษา ใน ขณะ นี้ ที่ พอ จะ ได้ ผล ก็ ได้ แก่ การ ผ่า ตัด เอา ก้อน เนื้อ งอก ออก และ การ ใช้ ยา ฉีด ทำลาย เซลล์ มะเร็ง โดย ผ่าน สาย ฉีด เข้า ไป ทางเส้น เลือด ที่ ไป สู่ ก้อน เนื้อ งอก ของ ตับ โดย ตรง แต่ ไม่ ว่า เรา จะ รักษา ด้วย วิธี ใด ๆ ผู้ ป่วย ที่ เป็น โรค นี้ ก็ มี อายุ ไม่ ยืน ยาว ส่วน ใหญ่ จะ มี ชีวิต อยู่ ได้ ประมาณ 1 ปี หรือ น้อย กว่า ถ้า ไม่ รักษา ก็ อยู่ ได้ ประมาณ 4-6 เดือน

เรา จะ มี วิธี ป้อง กัน โรค นี้ ได้ อย่าง ไร

ใน ปัจจุบัน วิธี ป้อง กัน ไม่ ให้ เป็น โรค นี้ โดย การ ฉีด วัคซีน เป็น วิธี ที่ ดี ที่ สุด การ เลือก ฉีด วัคซีน จะ แบ่ง เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. ใน เด็ก การ ฝาก ครรภ์ จะ ทำ ให้ ทราบ ว่า มารดา มี เชื้อ ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบีหรือ ไม่ ถ้า เป็น โรค นี้ ควร ให้ วัคซีน แก่ ทารก ตั้ง แต่ แรก คลอด ให้ เร็ว ที่ สุด เพื่อ ป้อง กัน ไม่ ให้ ติด เชื้อ ตั้ง แต่ แรก เกิด ซึ่ง ถ้า เด็ก ได้ รับ เชื้อ ตั้ง แต่ แรก เกิด แล้ว จะ มี โอกาส เป็น ตับ แข็ง หรือ เนื้อ งอก ของ ตับ ตั้ง แต่ อายุ ยัง น้อย ส่วน ใน เด็ก ที่ คลอด จาก มารดา ที่ ปกติ ใน ปัจจุบัน ก็ ควร ได้ รับ การ ฉีด วัคซีน ตั้ง แต่ เด็ก ด้วย เช่น กัน เพื่อ ป้อง กัน การ ติด เชื้อ เมื่อ เด็ก โต ขึ้น
2. ใน ผู้ ใหญ่ ขึ้น อยู่กับคน ๆ นั้น จะ เสี่ยง ต่อ การ ติด โรค ได้ มาก น้อย เพียง ใด ถ้า เสี่ยง ต่อ การ ติด โรค นี้ ก็ ควร ได้ รับ การ ฉีด วัคซีน แต่ ก่อน ฉีด วัคซีน ควร ได้ รับ การ เจาะ เลือด ตรวจ ก่อน ว่า มี ภูมิ ต้าน ทาน โรค นี้ หรือ ยัง เพราะ ว่า มี คน จำนวน หนึ่ง ซึ่ง เมื่อ เจาะ เลือด ดู จะ พบ ว่า มี ภูมิ ต้าน ทาน อยู่ แล้ว หรือ อาจ มี เชื้อ อยู่ ใน ร่าง กาย แล้ว ซึ่ง ก็ ไม่ จำ เป็น ต้อง ฉีด ใน คน สูง อายุ อาจ ไม่ จำ เป็น ต้อง ฉีด วัคซีน ก่อน ฉีด วัคซีน ควร ไป พบ แพทย์ เพื่อ ขอ คำ แนะ นำ

เรา จะ ปฏิบัติ อย่าง ไร เมื่อ สงสัย ว่า จะ เป็น โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ชนิดบี

ถ้า หาก มี อาการ อ่อน เพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่อ อาหาร มี ไข้ ต่ำ ๆ หรือ มี อาการ ตา เหลือง ตัว เหลือง ควร รีบ ไป พบ แพทย์ เพื่อ ให้ แพทย์ ตรวจ วินิจฉัย ว่า เป็น โรค ตับ อักเสบ หรือ เปล่า และ เป็น ชนิด ไหน ใน กรณี ที่ มี อาการ ดัง กล่าว ข้าง ต้น ควร พัก ผ่อน ให้ มาก ควร งด รับ ประทาน มัน เพราะ จะ ทำ ให้ แน่น อืด ท้อง และ คลื่นไส้ เพิ่ม มาก ขึ้น ควร งด ดื่ม สุรา อย่าง เด็ด ขาด ใน ระหว่าง ที่ เป็น โรค นี้ อยู่ และ ไม่ ควร รับ ประทาน ยา ที่ มี อัน ตรายต่อ ตับ

 

 



หน้าที่ :: 86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96  


Copyright © 2012 Neric-Club.Com All Rights Reserved