Neric-Club.Com
  ทรัพยากรคลับ
  พิพิธภัณฑ์หุ่นกระดาษ
  เปิดประตูสู่อาเซียน@
  พันธกิจขยายผล
  ชุมชนคนสร้างสื่อ
  คลีนิคสุขภาพ
  บริหารจิต
  ห้องข่าว
  ตลาดวิชา
   นิตยสารออนไลน์
  วรรณกรรมเพื่อเยาวชน
  ลมหายใจของใบไม้
  เรื่องสั้นปันเหงา
  อังกฤษท่องเที่ยว
  อนุรักษ์ไทย
  ศิลปวัฒนธรรมไทย
  ต้นไม้ใบหญ้า
  สายลม แสงแดด
  เตือนภัย
  ห้องทดลอง
  วิถีไทยออนไลน์
   มุมเบ็ดเตล็ด
  เพลงหวานวันวาน
  คอมพิวเตอร์
  ความงาม
  รักคนรักโลก
  วิถีพอเพียง
  สัตว์เลี้ยง
  ถนนดนตรี
  ตามใจไปค้นฝัน
  วิถีไทยออนไลน์
"ในยุคสมัยแห่งโลกแฟนตาซี ปลาใหญ่ไม่ทันกินปลาเล็ก ปลาเร็วไม่ทันกินปลาช้า ปลาตะกละฮุบเหยื่อโผงโผง โง่ยังเป็นเหยื่อคนฉลาด อ่อนแอเป็นเหยื่อคนเข้มแข็ง คนวิถึใหม่ต้องฉลาด เข้มแข็ง เสียงดัง มีเงินเป็นอาวุธ
ดูผลโหวด
 
 

'องค์ความรู้ในโลกนี้มีมากมาย
เหมือนใบไม้ในป่าใหญ่
มนุษย์เราเรียนรู้ได้
แค่ใบไม้หนึ่งกำมือของตนเอง
ผู้ใดเผยแผ่ความรู้
อันเป็นวิทยาทานแก่ผู้อื่น
นั่นคือกุศลอันใหญ่ยิ่ง'
 
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า












           




             ซ่อมได้ 


สถิติผู้เยี่ยมชมเวปไซต์
14326533  

สัทศาสตร์เบื้องต้น

 
การกลมกลืนเสียง
 
คําว่า การกลมกลืนเสียง (assimilation) หมายถึงการที่เสียงปรับเข้าหากันเมื่อมาบรรจบกัน ซึ่งมักจะเกิดขึ้ นข้ามขอบเขตคํา (Word Boundaries) แต่ก็ อาจเกิดขึ้นภายในคําเดียวกันก็ได้ หากเรามาพิจารณาคําว่า That และ book และดูว่ามีหน่วยเสียงอะไรเกี่ยวข้องบ้าง เราจะได้หน่วยเสียง และ ถ้าเรานําคําทั้งสองนี้มาใส่ ไว้ในประโยค (เช่นในประโยคว่า Could you pass me that book, please ?) เราจะสังเกตได้ว่าหน่วยเสี ยง / t / ท้ายคําว่า That จะมีเสียงไม่เหมือนกับเวลาที่เราออกเสียงโดดๆ หน่วยเสียง /t/ จัดเป็นเสียงจากปุ่มเหงือกซึ้งจะเกิดขึ้นเมื่อลิ้นส่วนปลายสุดแตะแนวปุ่มเหงือกชั่วคราว หากท่านลองพูดประโยคนี้สัก 2-3 ครั้ง ท่านจะสังเกตได้ว่าลิ้นของท่านไม่ได้ ไปถึงบริเวณนั้นในตอนท้ายคํา แทนที่จะให้ลิ้ นเดินทางไกลขนาดนั้นโดยไม่จําเป็นจนถึงบริเวณปุ่ มเหงือก เราได้ทําการประหยัดแรงงาน และเตรียมอวัยวะในการออกเสียงของเราให้พร้อม
 
(ในกรณีนี้คือ ริมฝีปาก) สําหรับเสียงต่อไปคือ เสี ยง /b/ เสียงที่ปรับเปลี่ยนไปนั้นยังคงรักษาคุณภาพเสียงเดิมไว้ดังนั้นเราจึงพูดได้ว่าเสียง /t กลมกลืนกับเสียง /p/ โดยทั้งสองเสี ยงนั้นเป็นเสียงไม่ก้องอยู่แล้ว สิ่งที่เกิดขึ้นคือ เราได้ประโยคว่า Could you pass me ?
 
แต่นี่ไม่ได้หมายความว่าเรายอมให้เสีย /p/มีลักษณะการออกเสี ยงแบบเสียงระเบิดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์เช่นเดียวกันกับที่ เราจะยอมถ้าเราจะต้องเปล่งเสียง (ซึ่งไม่ใช่คําในภาษา) โดดๆ เพียงเพระริมฝีปากเราก็อยู่ในตําแหน่งที่จะออกเสียง /p/ อยู่แล้วคําอธิบายที่ดีที่สุดก็คือ ในการเตรียมอวัยวะในการออกเสียงให้พร้อมสําหรับการออกเสียงตัวถัดไป เสียงบางเสียงอาจจะถูกดูดกลืนหรือปรับเปลี่ยนไปเป็นเสียงอื่ นๆ ยังมีความเป็นไปได้อีกทางหนึ่งคือ เสียง /t/ ในตอนท้ายคําว่า that อาจจะกลายเป็นเสียงพยัญชนะกักลมจากเส่นเสียง (glottal stop) โดยเส่นเสียง (ซึ่งอยู่ด้านในกล่องเสียง) จะปิดอยู่ชั่วครู่

ตัวอย่างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเสียงดังกล่าวมีดังนี้

Can you see that boy over there ?
Where has the cat been all night ?
Who’s a cute baby, then ?

กฎการกลมกลืนเสียง

1. หน่วยเสียง /t/ , /d/ และ /n/ มักจะกลายเป็นเสียงจากริมฝีปาก เมื่อมีเสียงพยัญชนะจากริมฝีปากตามหลัง เช่น /p/, /b/ และ /m/ เช่น

He’s a rather fat boy. (เสียง /t/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /p/)
She’s got an apartment in Manhattan. (เสียง /t/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /p/)
He’s very good boy. (เสียง /d/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /b/)
There are ten men in the class, and two women. (เสียง /n/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /m/)

2. หน่วยเสียง /t/ จะถูกกลืนกลายเป็นเสียง /k/ เมื่ออยู?หน่าเสียง /k/ หรือ /g/ หน่วยเสียง /d/ จะถูกกลืนกลายเป็นเสียง /g/ เมื่ออยู่หน้าเสียง /k/ หรือ /g/ เช่น
Where has that cat been all night ? (เสียง /t/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /k/)
Can you see that girl over there ? (เสียง /t/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /k/)
It was a very good concert. (เสียง /d/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /g/)
She’s very good girl. (เสียง /d/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง /g/)

3. หน่วยเสียง /n/ อาจจะถูกกลืนกลายเป็นเสียง / / เมื่ออยู่หน้าเสียง /g/ หรือ /k/ เช่น
I’ve been going out too much lately.
He’s bringing his own car.

4. หน่วยเสียง /s/ ถูกกลืนกลายเป็นเสียง / / เมื่ออยู่หน้าเสียง / / เช่น
I really love this shiny one over here.

5. หน่วยเสียง / z / อาจถูกกลืนกลายเป็นเสียง / / เมื่ออยู่หน้าเสียง / / เช่น
We found this lovely little cheese shop in Paris
ตัวอย่างข้างต้นนี้เป็นกรณีของ การกลมกลืนตามเสียงที่ตามมา (anticipatory
assimilation) ซึ่งเสียงจะเปลี่ยนไปเป็นอีกเสียงหนึ่งเพราะหนึ่งเสียงที่ตามมานี้เป็นตัวอย่างกรณี การรวมเสียงกลมกลืน ( Coalescent assimilation) โดยเสียงสองเสียงจะผสมผสานกันกลายเป็นเสียงที่แตกต่างไป

6. หน่วยเสียง / t / และ / j / จะรวมกันเป็นเสียง / / เช่น
Your went to France last year, didn’t you ?

7. หน่วยเสียง / d / และ / j / จะรวมกันเป็นเสียง / / เช่น
Would you like a cup of tea?


หน้าที่ :: 1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11  


Copyright © 2012 Neric-Club.Com All Rights Reserved